1. อะตอมของธาตุมีความไม่เสถียร ต้องอยู่รวมตัวเป็นโมเลกุลยกเว้นธาตุในหมู่ใด
ก. หมู่IA ค. หมู่ IIA ข. หมู่VIIA ง. หมู่ VIIIA 2. พนัธะเคมีข้อใดต่างจากกลุ่ม ก. พันธะไฮโดรเจน ค.พันธะโควาเลนซ์ ข. พันธะไอออนิก ง.พันธะโลหะ 3. พันธะไอออนิกเป็นพันธะที่เกิดระหว่างธาตุหมู่ใด ก. หมู่IA กับ หมู่IIA ค. หมู่IIA กับ หมู่VIIA ข. หมู่IA กับ หมู่IIIA ง. หมู่IIA กับ หมู่VIIIA 4. ข้อใดไม่ใช่สมบัติของสารประกอบไอออนิก ก. แข็ง เปราะ ข. มีหลายสีและส่วนใหญ่ละลายน้ำ ได้ดี ค. ละลายน้ำแล้วได้สารละลายที่นำไฟฟ้าได้ ง. จุดเดือด และจุดหลอมเหลวต่าง 5. ข้อใดเขียนสูตรสารเคมีของสารประกอบไอออนิกถูกต้อง ก. NaI ค. CaCl
ข. NeCl ง.
LiF2 6. ข้อใดเขียนชื่อสารประกอบไอออนิกของ BeCl2 ได้ถูกต้อง ก. เบริลเลียมคลอไรด์ ค.
เบริลเลียมไดคลอไรด์
ข. แบเรียมไดคลอไรด์ ง. แบเลียมคลอไรด์ 7. ข้อใดเขียนชื่อสารประกอบไอออนิกผิด ก. KCl –แคลเซียมคลอไรด์ ข. NaF – โซเดียมฟลูออไรด์ ค. NaCl – โซเดียมคลอไรด์
ง. LiI –ลิเทียมไอออไดด์ 8. สารประกอบไอออนิกและสารประกอบโควาเลนซ์มีลักษณะคล้ายกัน
ยกเว้นข้อใด ก. การสร้างพนัธะเกี่ยวข้องกับอิเล็กตรอน ข. การสร้างพันธะเกี่ยวข้องกับ พลังงาน ค. การสร้างพันธะเป็นไปตามกฏออกเตต
ง. สารส่วนใหญ่ละลายน้ำ ได้แต่บางสารละลายน้ำ
ไม่ได้ 9. ข้อใดไม่ใช่สมบัติของสารประกอบโควาเลนซ์ ก. ละลายน้า แล้วไดสารละลายที่นำ
ไฟฟ้าได้ ข. มีหลายสถานะทั้งของแข็ง
ของเหลวและก๊าซ ค. สารประกอบบางสารมีจุดเดือด
จุดหลอมเหลวสูง เช่น เพชร ง. เกิดจากการใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน 10. การเกิดสารประกอบโควาเลนซ์ต้องมีวาเลนต์อิเล็กตรอนร่วมกันกี่อนุภาคจึงจะเป็นไปตามกฏออกเตต ก. 2 และ 6 ข. 2 และ 8 ค. 6 และ 8 ง. 8 และ 10 11. สารใดไม่ใช่สารประกอบโควาเลนซ์ทั้งหมด ก. NaCl HCl CCl4 ข. NaH NH3 CH4 ค. MgO FeO NaO ง. SO2 NO2 CO2 12. ข้อใดเขียนสูตรโครงสร้างแบบเส้นของสารประกอบโควาเลนซ์ผิด ก. O2 แบบเส้น O = O ข. H2O แบบเส้น
H – O – H ค. CO2 แบบเส้น C = O = C ง. SiO2 แบบเส้น O = Si = O 13. ข้อใดเขียนชื่อสารประกอบโควาเลนซ์
SO3 ได้ถูกต้อง ก. ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ค.
ซิลิกอนไดออกไซด์ ข. ซัลเฟอร์ไตรออกไซด์ ง.
ซิลิกอนไตรออกไซด์ 14. เราใช้ประโยชน์จากสารประกอบโควาเลนซ์มากมายหลายด้านยกเว้นข้อใด ก. ใช้เพชรมาเครื่องประดับและหัวขุดเจาะน้ำมัน ข. ใช้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นเชื้อเพลิงยานอวกาศ ค. ใช้ซิลิกอนไดออกไซด์มาทำกระจก
และเครื่องประดับ ง. ใช้ก๊าซแอมโมเนียในการสังเคราะห์สารเคมีและยา 15. พันธะที่เกิดขึ้นระหว่างโลหะคือพันธะใด ก. พันธะไฮโดรเจน ค. พันธะโควาเลนซ์
ข. พันธะไอออนิก ง. พันธะโลหะ 16. ข้อใดไม่ใช่สมบัติของโลหะ ก. แข็ง เปราะ ค. สามารถตีแผ่เป็นแผ่น
บางๆได้ ข. นำไฟฟ้าได้ ง. จุดเดือด
และจุดหลอมเหลวสูง 17. ข้อใดไม่ใช่วัตถุประสงค์ของการผสมสารประกอบโลหะ
หรือ อัลลอยด์ 1. เพื่อให้ได้โลหะที่มีน้ำ หนักที่เบาแต่แข็งแรง 2. เพื่อให้ได้โลหะที่ทนต่อการเกิดปฏิกิริยา
เกิดการสึกกร่อนและเกิดสนิมยาก 3. เพื่อให้ได้โลหะที่มีความยืดหยุ่น
สูง ซึมซับแรงกระแทกได้ดี คำตอบคือข้อใด ก. ข้อ 1 และ 2 ข. ข้อ 1 และ 3 ค. ข้อ 1 ข้อเดียว ง. ข้อ 1 2 และ 3 18. พันธะและแรงระหว่างโมเลกุลใด
ที่แข็งแรงมากและทา ให้สารมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง ก. แรงลอนดอน ข. พันธะไฮโดรเจน ค. แรงแวนเดอร์วาลส์ ง. แรงดึงดูดระหว่างขั้ว 19. พันธะระหว่างโมเลกุลของ DNA
เป็นพันธะใด ก. พันธะไฮโดรเจน ค. พันธะโควาเลนซ์ ข. พันธะไอออนิก ง. พันธะโลหะ 20. พันธะเคมีใดมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างกันน้อยที่สุด ก. พันธะโลหะ ข. พันธะไฮโดรเจน ค. แรงลอนดอน
ง. พันธะโควาเลนต์ |
วันศุกร์ที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2563
ข้อสอบ3
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ข้อสอบ2
1. แบบจําลองอะตอมของ Dalton ได้มาได้อย่างไ ร ก. การเสนอความคิด ข. การใช้หลักตรรกศาสตร์ ค. การทดลอง ง. การทําแบบสอบถามนักวิทยาศาสตร์อื่น ๆ...
-
G.N. Lewis เสนอว่า การสร้างพันธะโควาเลนต์ระหว่างอะตอมใน โมเลกุลจะเป็ นไปตาม กฎออกเตต (Octet rule) คือ“อะตอมใด ๆ มี แนวโน้มที่...
-
1. แบบจําลองอะตอมของ Dalton ได้มาได้อย่างไ ร ก. การเสนอความคิด ข. การใช้หลักตรรกศาสตร์ ค. การทดลอง ง. การทําแบบสอบถามนักวิทยาศาสตร์อื่น ๆ...
-
ธาตุแทรนซิชัน (transition elements) ตามความหมายเดิม หมายถึง ธาตุที่เมื่ออยู่ในสภาพที่ไม่ว่าจะเป็นธาตุอิสระ หรือเป็นองค์ป...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น